อารมณ์ซึมเศร้า (เศร้าใจ, สิ้นหวัง, หมดหนทาง, ไร้ค่า)
ไม่มี
จะบอกภาวะความรู้สึกนี้ ต่อเมื่อถามเท่านั้น
บอกภาวะความรู้สึกนี้ออกมาเอง
สื่อภาวะความรู้สึกนี้โดยภาษากาย ได้แก่การแสดงสีหน้า, ท่าทาง, น้ำเสียง และมักร้องให้
ผู้ป่วยบอกเพียงความรู้สึกนี้อย่างชัดเจน ทั้งการบอกออกมาเอง และภาษากาย
ความรู้สึกผิด
ติเตียนตนเอง รู้สึกตนเองทำให้ผู้อื่นเสียใจ
รู้สึกผิด หรือครุ่นคิดถึงความผิดพลาดหรือการก่อกรรมในอดีต
ความเจ็บป่วยในปัจจุบันเป็นการลงโทษ, มีอาการหลงผิดว่าตนผิด
ได้ยินเสียงกล่าวโทษ หรือประณาม และ/หรือ เห็นภาพหลอนที่ข่มขู่คุกคาม
การฆ่าตัวตาย
รู้สึกชีวิตไร้ค่า
คิดว่าตนเองน่าจะตาย หรือความคิดใดๆ เกี่ยวกับการตายที่อาจเกิดขึ้นได้กับตนเอง
มีความคิดหรือท่าทีจะฆ่าตัวตาย
พยายามที่จะฆ่าตัวตาย
การนอนไม่หลับในช่วงต้น
ไม่มีปัญหาเข้านอนแล้วหลับยาก
แจ้งว่านอนหลับยากบางครั้ง ได้แก่ นานกว่า ½ ชั่วโมง
แจ้งว่านอนหลับยากทุกคืน
การนอนไม่หลับในช่วงกลาง
ไม่มีปัญหา
ผู้ป่วยแจ้งว่ากระสับกระส่าย และนอนหลับไม่สนิทช่วงกลางคืน
ตื่นกลางดึก หากมีลุกจากที่นอน ให้คะแนน 2 (ยกเว้นเพื่อปัสสาวะ)
การตื่นนอนเช้ากว่าปกติ
ตื่นแต่เช้ามืด แต่นอนหลับต่อได้
นอนต่อไม่หลับอีก หากลุกจากเตียงไปแล้ว
การงานและกิจกรรม
มีความคิดและความรู้สึกว่าตนเองไม่มีสมรรถภาพ, อ่อนเปลี้ย, หรือหย่อนกำลังที่จะทำกิจกรรมต่างๆ ; การงาน หรืองานอดิเรก
หมดความสนใจในกิจกรรมต่างๆ ; งานอดิเรก หรืองานประจำ ไม่ว่าจะทราบโดยตรงจากการบอกเล่าของผู้ป่วย หรือทางอ้อมจากการไม่กระตือรือร้น,ลังเลใจ และเปลี่ยนใจไปมา (ผู้ป่วยรู้สึกว่าต้องกระตุ้นให้ตนเองทำงานหรือกิจกรรม)
เวลาที่ใช้จริงในการทำกิจกรรมลดลง หรือผลงานลดลง หากอยู่ในโรงพยาบาล, ให้คะแนน 3 ถ้าผู้ป่วยใช้เวลาต่ำกว่า 3 ชั่วโมงต่อวันในการทำกิจกรรม (งานของโรงพยาบาล หรืองานอดิเรก)ยกเว้นหน้าที่ประจำในโรงพยาบาล
หยุดทำงานเพราะการเจ็บป่วยในปัจจุบัน หากอยู่ในโรงพยาบาล, ให้คะแนน 4 ถ้าผู้ป่วย ไม่ทำกิจกรรมอื่นนอกจากหน้าที่ประจำวันในโรงพยาบาล หรือถ้าผู้ป่วยทำหน้าที่ประจำวัน ไม่ได้หากไม่มีคนช่วย
อาการเชื่องช้า (ความช้าของความคิดและการพูดจา : สมาธิบกพร่อง, การเคลื่อนไหวลดลง)
การพูดจาและความคิดปกติ
มีอาการเชื่องช้าเล็กน้อยขณะสัมภาษณ์
มีอาการเชื่องช้าชัดเจนขณะสัมภาษณ์
สัมภาษณ์ได้อย่างลำบาก
อยู่นิ่งเฉยโดยสิ้นเชิง
อาการกระวนกระวายทั้งกายและใจ
งุ่นง่าน อยู่ไม่สุข
เล่นมือ เล่นผม ฯลฯ
เดินไปมา นั่งไม่ติดท
บีบมือ กัดเล็บ ดึงผม กัดริมฝีปาก
ความวิตกกังวลในจิตใจ
รู้สึกตึงเครียด และหงุดหงิด
กังวลในเรื่องเล็กน้อย
การพูดจาหรือสีหน้ามีท่าทีหวั่นกลัว
แสดงความหวาดกลัว โดยไม่ต้องถาม
ความวิตกกังวลซึ่งแสดงออกทางกาย อาการร่วมด้านสรีระวิทยาของความวิตกกังวล อาการร่วมด้านสรีระวิทยาของความวิตกกังวล เช่น * ระบบทางเดินอาหาร : ปากแห้ง ลมขึ้น อาหารไม่ย่อย ท้องเสีย ปวดเกร็งท้อง เรอ * ระบบหัวใจและหลอดเลือด : ใจสั่น ปวดศีรษะ * ระบบหายใจ : หายใจหอบเร็ว ถอนหายใจ * ปัสสาวะบ่อย * เหงื่อออก
เล็กน้อย
ปานกลาง
รุนแรง
เสื่อมสมรรถภาพ
อาการทางกาย ระบบทางเดินอาหาร
เบื่ออาหาร แต่รับประทานโดยผู้อื่นไม่ต้องคอยกระตุ้น รู้สึกหน่วงในท้อง
รับประทานยากหากไม่มีคนคอยกระตุ้น ขอหรือจำต้องใช้ยาระบายหรือยาเกี่ยวกับลำไส้ หรือยาสำหรับอาการของระบบทางเดินอาหาร
อาการทางกาย อาการทั่วไป
ตึงแขนขา หลังหรือศีรษะ ปวดหลัง ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ หมดแรงและอ่อนเพลีย
มีอาการใดๆ ที่ชัดเจน
อาการทางระบบสืบพันธุ์
ไม่มีอาการ เช่น หมดความต้องการทางเพศ ปัญหาด้านประจำเดือน
อาการคิดว่าตนป่วยเป็นโรคทางกาย
หมกมุ่นในตนเอง (ด้านร่างกาย)
หมกมุ่นในเรื่องสุขภาพ
แจ้งถึงอาการต่างๆ บ่อย เรียกร้องความช่วยเหลือ ฯลฯ
มีอาการหลงผิดว่าตนป่วยเป็นโรคทางกาย
น้ำหนักลด เมื่อให้คะแนนโดยอาศัยประวัติ
ไม่มีน้ำหนักลด
อาจมีน้ำหนักลด ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการเจ็บป่วยครั้งนี้
น้ำหนักลดชัดเจน (ตามที่ผู้ป่วยบอก)
ไม่ได้ประเมิน
การหยั่งเห็นถึงความผิดปกติของตนเอง
ยอมรับว่ากำลังซึมเศร้า และเจ็บป่วย
ยอมรับความเจ็บป่วย แต่โยงสาเหตุกับอาหารที่เลว ดินฟ้าอากาศ การทำงานหนัก ไวรัส การต้องการพักผ่อน ฯลฯ
ปฏิเสธการเจ็บป่วยโดยสิ้นเชิง