โปรดถามข้อมูลจากผู้ป่วย ญาติ และหาข้อมูลแวดล้อม ร่วมกับการสังเกตอาการผู้ป่วย ในช่วง 1 สัปดาห์ ที่ผ่านมาจนถึงวันที่ประเมินว่า ผู้ป่วยมีอาการหรือพฤติกรรมอย่างไร เพื่อพิจารณาประเมินให้ คะแนนตามระดับคะแนนที่ตรงกับพฤติกรรมของผู้ป่วยมากที่สุด
พฤติกรรมการ ใช้สารเสพติด เช่น สุรา ยาบ้า กัญชา สารระเหย เป็นต้น (≥1 ชนิด)
ไม่ได้ใช้
ใช้แต่สามารถทำงานหรือปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้
ใช้ในปริมาณมากและบ่อยจนไม่สามารถทำงาน หรือปฏิบัติ กิจวัตร ประจำวันได้ แต่ไม่มีพฤติกรรมรุนแรงต่อคนหรือสิ่งของ หลังจาก การใช้
ใช้ในปริมาณมากและบ่อยจนถึงขั้นติดสุราหรือสารเสพติดนั้น และ มีพฤติกรรมรุนแรงต่อคนหรือสิ่งของหลังจากการใช้
ความคิดและการพยายาม ทำร้ายตนเอง
ไม่มีความคิดอยากทำร้ายตนเอง ไม่มีพฤติกรรมพยายามทำร้าย ตนเอง
มีความคิดอยากทำร้ายตนเอง หรือคิดว่าตายไปคงจะดีกว่า
ได้วางแผนหรือเตรียมการที่จะทำร้ายตนเอง เช่น หาอุปกรณ์ที่จะใช้ในการฆ่าตัวตายมารวมไว้ พูดสั่งลา เขียนจดหมาย หรือ มอบสมบัติที่มีให้ผู้อื่น
ได้พยายามทำร้ายตัวเองแต่ไม่ตั้งใจที่จะทำให้ตาย หรืออาจใช้ วิธี การที่ไม่รุนแรง ไม่ทำให้ถึงตาย เช่น กรีดแขน กินยาแก้ปวดหรือ กินสารเคมี หรือกินยานอนหลับในปริมาณไม่มาก
ได้พยายามฆ่าตัวตายโดยคาดหวังตั้งใจที่จะทำให้ตาย โดยใช้วิธีการที่รุนแรงซึ่งมีโอกาสฆ่าตัวตายสำเร็จ เช่น ใช้ปืนยิง ราดน้ำมัน จุดไฟเผา ใช้ไฟฟ้าซ็อต แขวนคอ ใช้ของมีคมแทง วิ่งให้รถชน กระโดดจากที่สูง
การแสดง ท่าทางคุกคาม ข่มขู่ผู้อื่น
ไม่มี
แสดงออกถึงการพดูด่าทอด้วยคำรุนแรง ตะโกน แผดเสียง พูดจา ถากถาง คาดโทษ ข่มขู่จะทำร้ายผู้อื่น แต่ยังไม่ลงมือ
แสดงกิริยาท่าทางที่กำลังจะจู่โจม ทำร้ายผู้อื่นร่วมกับมีอารมณ์โกรธ เช่น กระทืบเท้า กำหมัด เดินตรงเข้ามาใกล้ ชี้หน้า ตาขวาง หน้าบึ้ง เคลื่อนตัวเข้ามาใกล้ผู้อื่น แต่ยังไม่ลงมือทำร้ายผู้อื่น
มีการแสดงท่าทางคุกคาม ข่มขู่ผู้อื่นที่ชัดเจนทั้งคำพูด และ กิริยา ท่าทาง (ทั้งข้อ 1 และ 2)
การแสดงออก ทางอารมณ์ พฤติกรรมที่ หวาดระแวง ว่า ผู้อื่นจะมา ทำร้าย และ ไม่เป็นมิตร
ไม่แน่ใจ เนืองจากการแสดงออกไม่ชัดเจน แต่ญาติหรือผู้ประเมินสงสัยว่าผู้ป่วยมีอาการดังกล่าว
มีอาการหวาดระแวงชัดเจน ทั้งทางคำพูดและพฤติกรรม แต่ยัง ไม่ลงมือกระทำรุนแรง เช่น พกอาวุธ หันมองซ้ายขวา ระวัง ตัวอย่างมาก เป็นต้น
ต่อสู้หรือจู่โจมเป้าหมายที่หวาดระแวง
พฤติกรรม รุนแรง และ การทำร้ายผู้อื่น
ไม่มีทั้งพฤติกรรมและความคิดหรือการวางแผนที่จะทำร้ายผู้อื่น
มีคดีความหรือพูดถึงแผนที่จะทำร้ายคนอื่นแต่ยังไม่เฉพาะเจาะจง ว่าเป็นใคร
มีความคิดหรือพูดถึงแผนที่จะทำร้ายผู้อื่น หรือมีความคิดอยาก จะข่มขืน จะฆ่าผู้อื่นโดยระบุบุคลใดบุคคลหนึ่ง หรือ อาจจะเผาที่ใดที่หนึ่ง แต่ยังไม่ลงมือทำ
ลงมือกระทำรุนแรงต่อผู้อื่น หรือเผา หรือทำลายสิ่งของ หรือ มี พฤติกรรม ถ้ำมอง เล่น หรือโชว์อวัยวะเพศของตนต่อหน้าสาธารณะหรือไม่
เป้าหมายของ การกระทำ รุนแรง
กระทำรุนแรงต่อสิ่งของอย่างเดียวไม่ได้ทำร้ายผู้อื่น
กระทำรุนแรงต่อผู้ชาย
กระทำรุนแรงต่อผู้หญิงต่อผู้หญิงหรือเด็ก ผู้สูงอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป หรือผู้พิการ
กระทำรุนแรงทั้งต่อสิ่งของ และผู้ชาย ผู้หญิง ผู้สูงอายุ ผู้พิการ หรือเด็กที่มากกว่า 1 คนขึ้นไป
ส่วนของร่างกายที่ใช้กระทำรุนแรง และอุปกรณ์ที่ใช้ ร่วมกับกระทำรุนแรง
ใช้ปากกัด ใช้ศีรษะโขลกหรือกระแทก ใช้มือ ผลัก ตบ ตีต่อย บีบ ผู้อื่น
ใช้เข่า เท้า เตะ ถีบ กระทืบ ผู้อื่น แต่ไม่ได้ใช้อาวุธหรือมีพฤติกรรมถ้ำมอง เล่นหรือโชว์อวัยวะเพศของตนต่อหน้าสาธารณะ
ใช้อุปกรณ์ที่ไม่ใช่ของมีคม หรือมีการลวนลามทางเพศ เช่น กอด จูบ จับหน้าอกหรือของสงวนผู้อื่น แต่ยังไม่ข่มขืน
ใช้อุปกรณ์เป็นของมีคมหรือ อาวุธ เช่น มีด ดาบ ปืน เพื่อทำร้ายผู้อื่น//หรือตั้งใจเผา วางเพลิงเพื่อสร้างความเสียหายต่อทรัพย์สินและบุคคล /หรือมีการข่มขืนกระทำชำเราผู้อื่น
ผลที่เกิดขึ้น จากการกระทำ รุนแรง
สิ่งของมีการแตกหัก พัง เสียหาย ใช้การไม่ได้ แต่ไม่มีผู้ได้รับบาดเจ็บ
มีผู้ได้รับบาดเจ็บ มีรอย ฟกช้ำเคล็ดขัดยอก ปวดตามร่างกาย แต่ไม่มีแผล ไม่มีเลือดออกมา
มีผู้ได้รับบาดเจ็บ มีแผล มีเลือดออกต้อง รับการรักษาจากสถานพยาบาล แบบผู้ป่วยนอกหรือแผนกฉุกเฉิน
มีผู้ได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง มีการเสียเลือด หรือแตกหัก ของ อวัยวะในร่างกาย อย่างรุนแรง จนต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
มีผู้เสียชีวิต
การแสดงออก ถึง ความเห็นอก เห็นใจเหยื่อที่ เป็นผลจากการ กระทำรุนแรง
ผู้ป่วยแสดงความรู้สึกผิดเสียจากการกระทำของตน เช่น ร้องไห้ ยอมรับผิด แสดงการขอโทษผู้ได้รับผลจากการกระทำของตน
ผู้ป่วยไม่แสดงอารมณ์ความรู้สึกที่ชัดเจน ว่าเสียใจ หรือโกรธ สีหน้าเฉยเมย ไม่สนใจว่ามีผู้ใดหรือสิ่งใดได้รับผลกระทบจากการกระทำรุนแรงของตน
ผู้ป่วยแสดงออกซึ่งพฤติกรรมที่ขาดความเห็นอกเห็นใจผู้ได้รับ